www.fgks.org   »   [go: up one dir, main page]

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกลโคไลซิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 3 คน)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Glycolysis summary}}
'''ไกลโคไลซิส ''' ({{lang-en|Glycolysis}}; จาก ''glycose'' ซึ่งเป็นรูปเก่าของ<ref>Webster's New International Dictionary of the English Language, 2nd ed. (1937) Merriam Company, Springfield, Mass.</ref> glucose + ''-lysis'' การเสื่อมสลาย) เป็น[[metabolic pathway|วิถีเมทาบอลิก]]ที่เปลี่ยน[[กลูโคส]] (C<sub>6</sub>H<sub>12</sub>O<sub>6</sub>) ไปเป็น[[ไพรูเวต]] (CH<sub>3</sub>COCOO<sup>−</sup> หรือกรดไพรูวิก) และ[[ไฮโดรเจน]]ไอออน (H<sup>+</sup>) โดย[[Thermodynamic free energy|พลังงานอิสระเทอร์มอไดนามิก]]ที่ถูกปล่อยออกในกระบวนการนี้ได้ถูกนำมาใช้ในการสร้างโมเลกุลพลังงานสูง ATP ([[adenosine triphosphate]]) กะบกับ NADH ([[NADH|reduced nicotinamide adenine dinucleotide]])<ref>{{cite journal |last1=Alfarouk |first1=Khalid O. |last2=Verduzco |first2=Daniel |last3=Rauch |first3=Cyril |last4=Muddathir |first4=Abdel Khalig |last5=Bashir |first5=Adil H. H. |last6=Elhassan |first6=Gamal O. |last7=Ibrahim |first7=Muntaser E. |last8=Orozco |first8=Julian David Polo |last9=Cardone |first9=Rosa Angela |last10=Reshkin |first10=Stephan J. |last11=Harguindey |first11=Salvador |title=Glycolysis, tumor metabolism, cancer growth and dissemination. A new pH-based etiopathogenic perspective and therapeutic approach to an old cancer question |journal=Oncoscience |date=18 December 2014 |volume=1 |pages=777 |doi=10.18632/oncoscience.109|doi-access=free }}</ref><ref name="glycolysis_animation"/><ref>{{cite web|last=Bailey|first=Regina|title=10 Steps of Glycolysis|url=http://biology.about.com/od/cellularprocesses/a/aa082704a.htm}}</ref> ไกลโคไลซิสเป็นชุดของกระบวนการทางเคมีที่มี[[เอนไซม์]]เร่งสิบกระบวนการ [[โมโนแซ็กคาไรด์]]ส่วนใหญ่ เช่น [[ฟรุกโตส]] [[กาแลกโตสกาแล็กโทส]] สามารถถูกแปลงไปเป็นหนึ่งในสารมัธยันตร์ (intermediates) ในกระบวนการไกลโคไลซิสได้ สารมัธยันตร์เหล่านี้อาจถูกนำไปใช้โดยตรงหรือเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการไกลโคไลซิสต่อก็ได้ ยกตัวอย่างเช่นสารมัธยันตร์ dihydroxyacetone phosphate (DHAP) นั้นเป็นแหล่งกำเนิด[[กลีเซอรอล]]ที่ซึ่งรวมเข้ากับกรดไขมันเป็นไขมัน
 
ในสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ ไกลโคไลซิสนั้นเกิดขึ้นใน[[ไซโทซอล]] ชนิดของไกลโคไลซิสที่พบมากที่สุดคือวิถี ''Embden&ndash;-Meyerhof&ndash;-Parnas (EMP pathway)'' ที่ซึ่งค้นพบโดย [[Gustav Embden]], [[Otto Meyerhof]] และ [[Jakub Karol Parnas]] ไกลโคไลซิสนั้นอาจหมายถึงวิถีอื่น ๆ ก็ได้ เช่นวิถี ''[[Entner–Doudoroff pathway]]'' อย่างไรก็ตาม ในบทความนี้จะมุ่งเน้นไปที่วิถี Embden&ndash;-Meyerhof&ndash;-Parnas pathway เป็นหลัก<ref>Kim BH, Gadd GM. (2011) Bacterial Physiology and Metabolism, 3rd edition.</ref>
 
วิถีของไกลโคไลซิสสามารถแบ่งออกเป็นสองช่วง คือ<ref name="glycolysis_animation">[http://pharmaxchange.info/press/2011/09/glycolysis-animation-and-notes/ Glycolysis &ndash;- Animation and Notes]</ref>
# ระยะการเตรียม (หรือการลงทุน; Investment) ที่ซึ่งมรการใช้ ATP
# ระยะจ่ายออก (Pay Off) ที่ซึ่งผลิต ATP ออกมา