www.fgks.org   »   [go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกลโคไลซิส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AvicBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: simple:Glycolysis
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
 
(ไม่แสดง 36 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 18 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Glycolysis summary}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ไกลโคไลซิส ''' ({{lang-en|Glycolysis}}; จาก ''glycose'' ซึ่งเป็นรูปเก่าของ<ref>Webster's New International Dictionary of the English Language, 2nd ed. (1937) Merriam Company, Springfield, Mass.</ref> glucose + ''-lysis'' การเสื่อมสลาย) เป็น[[metabolic pathway|วิถีเมทาบอลิก]]ที่เปลี่ยน[[กลูโคส]] (C<sub>6</sub>H<sub>12</sub>O<sub>6</sub>) ไปเป็น[[ไพรูเวต]] (CH<sub>3</sub>COCOO<sup>−</sup> หรือกรดไพรูวิก) และ[[ไฮโดรเจน]]ไอออน (H<sup>+</sup>) โดย[[Thermodynamic free energy|พลังงานอิสระเทอร์มอไดนามิก]]ที่ถูกปล่อยออกในกระบวนการนี้ได้ถูกนำมาใช้ในการสร้างโมเลกุลพลังงานสูง ATP ([[adenosine triphosphate]]) กับ NADH ([[NADH|reduced nicotinamide adenine dinucleotide]])<ref>{{cite journal |last1=Alfarouk |first1=Khalid O. |last2=Verduzco |first2=Daniel |last3=Rauch |first3=Cyril |last4=Muddathir |first4=Abdel Khalig |last5=Bashir |first5=Adil H. H. |last6=Elhassan |first6=Gamal O. |last7=Ibrahim |first7=Muntaser E. |last8=Orozco |first8=Julian David Polo |last9=Cardone |first9=Rosa Angela |last10=Reshkin |first10=Stephan J. |last11=Harguindey |first11=Salvador |title=Glycolysis, tumor metabolism, cancer growth and dissemination. A new pH-based etiopathogenic perspective and therapeutic approach to an old cancer question |journal=Oncoscience |date=18 December 2014 |volume=1 |pages=777 |doi=10.18632/oncoscience.109|doi-access=free }}</ref><ref name="glycolysis_animation"/><ref>{{cite web|last=Bailey|first=Regina|title=10 Steps of Glycolysis|url=http://biology.about.com/od/cellularprocesses/a/aa082704a.htm}}</ref> ไกลโคไลซิสเป็นชุดของกระบวนการทางเคมีที่มี[[เอนไซม์]]เร่งสิบกระบวนการ [[โมโนแซ็กคาไรด์]]ส่วนใหญ่ เช่น [[ฟรุกโตส]] [[กาแล็กโทส]] สามารถถูกแปลงไปเป็นหนึ่งในสารมัธยันตร์ (intermediates) ในกระบวนการไกลโคไลซิสได้ สารมัธยันตร์เหล่านี้อาจถูกนำไปใช้โดยตรงหรือเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการไกลโคไลซิสต่อก็ได้ ยกตัวอย่างเช่นสารมัธยันตร์ dihydroxyacetone phosphate (DHAP) นั้นเป็นแหล่งกำเนิด[[กลีเซอรอล]]ที่ซึ่งรวมเข้ากับกรดไขมันเป็นไขมัน
[[ไฟล์:Glycolysis.jpg|right|400px|thumb|ขั้นตอนของไกลโคไลซิส]]
'''ไกลโคไลซิส ''' ({{lang-en|Glycolysis}}) เป็นกระบวนการปฏิกิริยาเคมีที่พบทั้งใน[[โพรแคริโอต]]และ[[ยูแคริโอต]]โดยในยูแคริโอตนั้นพบบริเวณ[[ไซโทพลาซึม]]ของเซลล์ เป็นกระบวนการสังเคราะห์[[โมเลกุล]] ATP กับ NADH จากโมเลกุลของ[[กลูโคส]]กล่าวโดยสรุปแล้วหนึ่งโมเลกุลของกลูโคสเมื่อผ่านกระบวนการไกลโคไลซิสแล้วได้สองโมเลกุลของ ATP, NADH และ [[ไพรูเวต]] เป็นการย่อยสลายโมเลกุลของ[[กลูโคส]] (คาร์บอน 6 ตัว) ไปเป็นไพรูเวต (คาร์บอน 3 ตัว)


ในสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ ไกลโคไลซิสนั้นเกิดขึ้นใน[[ไซโทซอล]] ชนิดของไกลโคไลซิสที่พบมากที่สุดคือวิถี ''Embden-Meyerhof-Parnas (EMP pathway)'' ที่ซึ่งค้นพบโดย [[Gustav Embden]], [[Otto Meyerhof]] และ [[Jakub Karol Parnas]] ไกลโคไลซิสนั้นอาจหมายถึงวิถีอื่น ๆ ก็ได้ เช่นวิถี ''[[Entner–Doudoroff pathway]]'' อย่างไรก็ตาม ในบทความนี้จะมุ่งเน้นไปที่วิถี Embden-Meyerhof-Parnas pathway เป็นหลัก<ref>Kim BH, Gadd GM. (2011) Bacterial Physiology and Metabolism, 3rd edition.</ref>
== ปฏิกิริยาในไกลโคไลซิส ==


ปฏิกิริยาในไกลโคไลซิสแบ่งได้เป็นสองช่วงคือ
วิถีของไกลโคไลซิสสามารถแบ่งออกเป็นสองช่วง คือ<ref name="glycolysis_animation">[http://pharmaxchange.info/press/2011/09/glycolysis-animation-and-notes/ Glycolysis - Animation and Notes]</ref>
# ระยะการเตรียม (หรือการลงทุน; Investment) ที่ซึ่งมรการใช้ ATP
* ช่วงการเตรียมการ (preparation phase) เป็นขั้นตอนที่ต้องการ [[ATP]] และมีการแบ่งกลูโคสออกเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 3 ตัว 2 โมเลกุล ปฏิกิริยาในช่วงนี้ได้แก่
# ระยะจ่ายออก (Pay Off) ที่ซึ่งผลิต ATP ออกมา
** เติมฟอสเฟตที่คาร์บอนตัวที่ 6 ของกลูโคสได้เป็นกลูโคส -6-ฟอสเฟต ใช้ไป 1 ATP
** เปลี่ยนกลูโคส – 6 – ฟอสเฟตไปเป็น ฟรุกโตส – 6 – ฟอสเฟต
** เพิ่มฟอสเฟตให้ ฟรุกโตส – 6 – ฟอสเฟต เป็นฟรุกโตส – 1,6- บิสฟอสเฟต ใช้ไป 1 ATP
** แตกโมเลกุลของ ฟรุกโตส – 1,6- บิสฟอสเฟต ไปเป็น[[ไดไฮดรอกซีอะซีโตนฟอสเฟต]] (dihydroxyacetonephosphate) กับ กลีเซอรอลดีไฮด์- 3- ฟอสเฟต (glyceraldehydes – 3- phosphate)
** ไดไฮดรอกซีอะซีโตนฟอสเฟต เปลี่ยนมาเป็น กลีเซอรอลดีไฮด์- 3- ฟอสเฟต
* ช่วงที่ได้คืน (payoff phase) เกิดปฏิกิริยาดังต่อไปนี้
** เกิด[[ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น]] เปลี่ยน กลีเซอรอลดีไฮด์- 3- ฟอสเฟตเป็น 1,3-บิสฟอสโฟกลีเซอเรต (1,3-bisphosphoglycerate) ได้ NADH + H+ 1 โมเลกุล
** ย้ายหมู่ฟอสเฟตจาก 1,3-บิสฟอสโฟกลีเซอเรต ไปยัง ADP ได้ ATP กับ 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต (3-phosphoglycerate)
** เปลี่ยน 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต เป็น 2-ฟอสโฟกลีเซอเรต
** เปลี่ยน 2-ฟอสโฟกลีเซอเรต ไปเป็น ฟอสโฟอีนอลไพรูเวต (phosphoenolpyruvate)
** ย้ายหมู่ฟอสเฟตจากฟอสโฟอีนอลไพรูเวตไปยัง ADP ได้ 1 ATP และ[[ไพรูเวต]]
ภาพรวมของปฏิกิริยาเป็นดังนี้
{| align="center" cellspacing=5 style="border: 1px solid #a79c83"
{|
| align = "center" bgcolor ="lightgreen" | <small>D</small>-[[กลูโคส]]
|
|
|
| align = "center" bgcolor ="lightgreen" | [[ไพรูเวต]]
|
|-
| align = "center" | [[ไฟล์:D-glucose wpmp.png]]
| align = "center" | <font size=4>'''+ 2'''</font> [[Nicotinamide adenine dinucleotide|NAD]]<sup>+</sup> <font size=4>'''+ 2'''</font> [[Adenosine diphosphate|ADP]] <font size=4>'''+ 2'''</font> [[Phosphate|P]]<sub>i</sub>
| align = "center" | [[ไฟล์:biochem reaction arrow foward NNNN horiz med.png]]
| align = "center" | <font size=4>'''2'''</font>
| align = "center" | [[ไฟล์:pyruvate wpmp.png]]
| align = "center" | <font size=4>'''+ 2'''</font> [[NADH]] <font size=4>'''+ 2'''</font> H<sup>+</sup> <font size=4>'''+ 2'''</font> [[ATP]] <font size=4>'''+ 2'''</font> H<sub>2</sub>O
|}


== ภาพรวม ==
โดยสรุป ต่อกลูโคส 1 โมเลกุล ใช้พลังงานไป 2 ATP ส่วนในขั้นตอนจะได้ 4 ATP (ได้ 2 ATP ต่อกลีเซอรอลดีไฮด์- 3- ฟอสเฟต 1 โมเลกุล ทั้งนี้ กลูโคส 1 โมเลกุลจะได้ กลีเซอรอลดีไฮด์- 3- ฟอสเฟต 2 โมเลกุล จึงได้ทั้งหมด 4 ATP) และได้ NADH + H+ 2 โมเลกุลเนื่องจาก NADH + H+ เมื่อเข้าสู่กระบวนการถ่ายเทอิเล็คตรอนในปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่นจะมีการขับโปรตรอนออกสู่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้ม 3 ครั้ง ซึ่งเมื่อเกิดการไหลกลับการโปรตรอนจะเทียบเท่ากับพลังงาน 3 ATP เพราะฉะนั้น ปฏิกิริยาไกลโคไลซิสจึงได้พลังงานทั้งสิ้น 4 + 6 เป็น 10 ATP ใช้ไป 2 ATP พลังงานสุทธิเป็น 8 ATP
ภาพรวมปฏิกิริยาไกลโคไลซิสคือ
<div style="display:flex; flex-flow:row wrap; border:1px solid #a79c83; margin:1em">
{{Biochem reaction subunit|compound={{sm|d}}-Glucose|link=Glucose|image=D-glucose wpmp.svg}}
{{Biochem reaction subunit|title=&nbsp;|style=background:lightgreen|other_content=+&nbsp;2&nbsp;[NAD]<sup>+</sup><br/>+&nbsp;2&nbsp;[ADP]<br/>+&nbsp;2&nbsp;[P]<sub>i</sub>}}
{{Biochem reaction subunit|title=&nbsp;|enzyme=various}}
{{Biochem reaction subunit|n=2|compound=Pyruvate|image=Pyruvate skeletal.svg}}
{{Biochem reaction subunit|title=&nbsp;|style=background:lightgreen|other_content=+&nbsp;2&nbsp;[NADH]<br/>+&nbsp;2&nbsp;H<sup>+</sup><br/>+&nbsp;2&nbsp;[ATP]<br/>+&nbsp;2&nbsp;H<sub>2</sub>O}}
</div>


การใช้สัญลักษณ์ในสมการด้านบนนี้อาจทำให้เหมือนกับสมการนี้ไม่สมดุลที่อะตอมออกซิเจน ไฮโดรเจน และประจุ ที่ซึ่งในความเป็นจริงนั้นสมดุลอะตอมจะสมดุลโดยหมู่ฟอสเฟต (P<sub>i</sub>) สองอัน:<ref name="ImportanceBalance">{{Cite journal| first1 = A. N.| first2 = T. W. -M.| first3 = R. M.| title = Metabolic acidosis and the importance of balanced equations| last1 = Lane| journal = Metabolomics| volume = 5| issue = 2| pages = 163–165| year = 2009| doi = 10.1007/s11306-008-0142-2| last2 = Fan| last3 = Higashi}}</ref>
== การเปลี่ยนแปลงของไพรูเวต ==
* ที่ซึ่งอาจปรากฏในรูปของ [[Phosphoric acid#Orthophosphoric acid chemistry|hydrogen phosphate]] anion (HPO<sub>4</sub><sup>2−</sup>), dissociating to contribute 2 H<sup>+</sup> overall
* ที่ซึ่งปลดปล่อยออกซิเจนอะตอมเมื่อยึดเข้ากับโมเลกุล [[adenosine diphosphate]] (ADP) ส่งผลให้เกิด 2{{nbsp}}O ในที่สุด


ส่วนสมดุลประจุนั้นสมดุลด้วยความแตกต่างระหว่าง ADP กับ ATP ในสภาแวดล้อมเซลล์ หมู่ไฮดรอกซิลทั้งสามของ ADP จะคลายพันธะออกเป็น −O<sup>−</sup> and H<sup>+</sup> ที่ซึ่งทำให้ ADP<sup>3−</sup> และไอออนของมันมีแนวโน้มจะคงอยู่ในพันธะไอออนิกกับ Mg<sup>2+</sup> ซึ่งทำให้เกิด ADPMg<sup>−</sup> ATP นั้นเหมือนกันแต่ต่างเพียงว่ามันมีหมู่ไฮดรอกซิลสี่หมู่ จึงทำให้เกิด ATPMg<sup>2−</sup> แทน จากความต่างนี้และประจุแท้จริงบนหมู่ฟอสเฟตสองหมู่นี้เท่ากัน ประจุสุทธิจะอยู่ที่ −4 ต่อฝั่ง ที่ซึ่งสมดุลกัน
ไพรูเวตที่ได้จากไกลโคไลซิสจะมีการเปลี่ยนแปลงไปได้ 3 ทาง ดังนี้
* ในสภาวะที่มี[[ออกซิเจน]]ไพรูเวต (คาร์บอน 3 ตัว) ถูกเปลี่ยนเป็น [[อะเซติลโคเอ]] (acetyl-CoA) (คาร์บอน 2 ตัว) ได้[[คาร์บอนไดออกไซด์]] 1 โมเลกุล จากนั้น อะเซติลโคเอ จะถูกเปลี่ยนเป็น[[อะซีเตต]] (acetate) เพื่อเข้า[[วัฏจักรเครบส์]]
* ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน เช่น[[กล้ามเนื้อลาย]]ที่ทำงานหนัก ส่วนของพืชที่จมอยู่ใต้น้ำ หรือใน[[แบคทีเรีย]]ที่หมักกรดแลกติก ไพรูเวตจะเป็นตัวรับอิเล็คตรอนตัวสุดท้ายแทนออกซิเจนได้เป็น[[กรดแลกติก]] ในกล้ามเนื้อกรดแลกติกนี้จะถูกส่งมายัง[[ตับ]]เพื่อเปลี่ยนเป็นกลูโคสเมื่อได้ออกซิเจนเพียงพอ
* ใน[[ยีสต์]] และจุลินทรีย์อื่นๆที่เกิดการหมัก จะเปลี่ยนไพรูเวตไปเป็น[[อะซีตัลดีไฮด์]] (acetaldehyde) จากนั้นอะซีตัลดีไฮด์จะมาเป็นตัวรับอิเล็คตรอนตัวสุดท้ายได้เป็น[[เอทานอล]] เอนไซม์ที่ใช้ในการหมักแอลกอฮอล์นี้พบได้ทั้งในยีสต์ที่หมัก[[เบียร์]] หมัก[[ขนมปัง]] และในสิ่งมีชีวิตอื่นทุกชนิดที่หมักแอลกอฮอล์ได้ รวมถึงพืชบางชนิด แต่ไม่พบในสัตว์และสิ่งมีชีวิตที่เกิด[[การหมักกรดแลกติก]]ได้


== อ้างอิง ==
== การเข้าสู่วิถีไกลโคไลซีสของคาร์โบไฮเดรทอื่นๆ ==
{{รายการอ้างอิง}}

ถ้าเป็นคาร์โบไฮเดรทโมเลกุลใหญ่ เช่นแป้งหรือไกลโคเจน จะต้องถูกย่อยสลายด้วยวิธี[[ฟอสโฟโรลัยซีส]]ก่อน สำหรับ[[ไดแซคคาไรด์]]ต้องถูกย่อยสลายเป็น[[โมโนแซคคาไรด์]]แล้วเข้าวิถีไกลโคไลซีส โดยในบรรดาโมโนแซคคาไรด์ทั้งหลาย [[กาแลคโตส]]เข้าวิถีไกลโคไลซีสด้วยวิธีที่แตกต่างออกไปโดยอาศัย 4 ปฏิกริยา สมการสุทธิ 2 กาแลกโตส + 2 ATP + UTP และได้ UDP-กาแลคโตส + PP + 2ADP ซึ่ง 1 โมเลกุลของ กาแลคโตส จะได้ 1 โมเลกุลของ [[กลูโคส]]<ref>รศ.สุนันทา ภิญญาวัธน์ ชีวเคมี 2 หน้า 104 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ISBN 978-616-513-461-3</ref>

== อ้างอืง ==
<references \>

{{เรียงลำดับ|กไลโคไลซิส}}
{{Link FA|it}}


[[หมวดหมู่:ชีวเคมี]]
[[หมวดหมู่:ชีวเคมี]]
[[หมวดหมู่:วิถีเมแทบอลิซึม]]
[[หมวดหมู่:คาร์โบไฮเดรต]]
[[หมวดหมู่:การหายใจระดับเซลล์]]
[[หมวดหมู่:ปฏิกิริยาเคมี]]
[[หมวดหมู่:ปฏิกิริยาเคมี]]
[[หมวดหมู่:ไกลโคไลสิส| ]]
{{Link FA|de}}

[[ar:تحلل سكري]]
[[be:Гліколіз]]
[[be-x-old:Гліколіз]]
[[bg:Гликолиза]]
[[ca:Glicòlisi]]
[[cs:Glykolýza]]
[[da:Glykolyse]]
[[de:Glykolyse]]
[[el:Γλυκόλυση]]
[[en:Glycolysis]]
[[eo:Glikolizo]]
[[es:Glucólisis]]
[[et:Glükolüüs]]
[[eu:Glukolisi]]
[[fa:قندکافت]]
[[fi:Glykolyysi]]
[[fr:Glycolyse]]
[[gl:Glicólise]]
[[he:גליקוליזה]]
[[hi:ग्लाइकोलिसिस]]
[[ht:Glikoliz]]
[[hu:Glikolízis]]
[[id:Glikolisis]]
[[it:Glicolisi]]
[[ja:解糖系]]
[[ka:გლიკოლიზი]]
[[kk:Гликолиз]]
[[ko:해당]]
[[lb:Glykolys]]
[[lt:Glikolizė]]
[[mk:Гликолиза]]
[[nl:Glycolyse]]
[[no:Glykolyse]]
[[pl:Glikoliza]]
[[ps:ګلايکوليسېز]]
[[pt:Glicólise]]
[[ro:Glicoliză - Calea Embden-Meyerhoff-Parnas]]
[[ru:Гликолиз]]
[[simple:Glycolysis]]
[[sk:Glykolýza]]
[[sl:Glikoliza]]
[[sr:Гликолиза]]
[[su:Glikolisis]]
[[sv:Glykolys]]
[[ta:சர்க்கரைச் சிதைவு]]
[[tl:Glikolisis]]
[[tr:Glikoliz]]
[[uk:Гліколіз]]
[[zh:糖酵解]]
[[zh-min-nan:Thn̂g-kái]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:00, 4 มิถุนายน 2565

The image above contains clickable links
The image above contains clickable links
วิถีเมแทบอลิกของไกลโคไลซิสเปลี่ยนกลูโคสเป็นไพรูเวตผ่านชุดของสารเมแทบอไลต์มัธยันตร์ (intermediate metabolites)    แต่ละการดัดแปรทางเคมีนั้นเกิดขึ้นโดยเอนไซม์ที่ต่างกัน    ขั้นตอน 1 และ 3 มีการใช้ ATP และ    ขั้นตอน 7 และ 10 สร้าง ATP นับตั้งแต่ขั้นตอนที่ 6–10 จะเกิดขึ้นสองเท่าต่อหนึ่งโมเลกุลของกลูโคส ซึ่งนำไปสู่ผลผลิตสุทธิของ ATP

ไกลโคไลซิส (อังกฤษ: Glycolysis; จาก glycose ซึ่งเป็นรูปเก่าของ[1] glucose + -lysis การเสื่อมสลาย) เป็นวิถีเมทาบอลิกที่เปลี่ยนกลูโคส (C6H12O6) ไปเป็นไพรูเวต (CH3COCOO หรือกรดไพรูวิก) และไฮโดรเจนไอออน (H+) โดยพลังงานอิสระเทอร์มอไดนามิกที่ถูกปล่อยออกในกระบวนการนี้ได้ถูกนำมาใช้ในการสร้างโมเลกุลพลังงานสูง ATP (adenosine triphosphate) กับ NADH (reduced nicotinamide adenine dinucleotide)[2][3][4] ไกลโคไลซิสเป็นชุดของกระบวนการทางเคมีที่มีเอนไซม์เร่งสิบกระบวนการ โมโนแซ็กคาไรด์ส่วนใหญ่ เช่น ฟรุกโตส กาแล็กโทส สามารถถูกแปลงไปเป็นหนึ่งในสารมัธยันตร์ (intermediates) ในกระบวนการไกลโคไลซิสได้ สารมัธยันตร์เหล่านี้อาจถูกนำไปใช้โดยตรงหรือเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการไกลโคไลซิสต่อก็ได้ ยกตัวอย่างเช่นสารมัธยันตร์ dihydroxyacetone phosphate (DHAP) นั้นเป็นแหล่งกำเนิดกลีเซอรอลที่ซึ่งรวมเข้ากับกรดไขมันเป็นไขมัน

ในสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ ไกลโคไลซิสนั้นเกิดขึ้นในไซโทซอล ชนิดของไกลโคไลซิสที่พบมากที่สุดคือวิถี Embden-Meyerhof-Parnas (EMP pathway) ที่ซึ่งค้นพบโดย Gustav Embden, Otto Meyerhof และ Jakub Karol Parnas ไกลโคไลซิสนั้นอาจหมายถึงวิถีอื่น ๆ ก็ได้ เช่นวิถี Entner–Doudoroff pathway อย่างไรก็ตาม ในบทความนี้จะมุ่งเน้นไปที่วิถี Embden-Meyerhof-Parnas pathway เป็นหลัก[5]

วิถีของไกลโคไลซิสสามารถแบ่งออกเป็นสองช่วง คือ[3]

  1. ระยะการเตรียม (หรือการลงทุน; Investment) ที่ซึ่งมรการใช้ ATP
  2. ระยะจ่ายออก (Pay Off) ที่ซึ่งผลิต ATP ออกมา

ภาพรวม[แก้]

ภาพรวมปฏิกิริยาไกลโคไลซิสคือ

 

+ 2 [NAD]+
+ 2 [ADP]
+ 2 [P]i

 

แม่แบบ:Biochem reaction arrow alt text

2 × Pyruvate

2 × 

 

+ 2 [NADH]
+ 2 H+
+ 2 [ATP]
+ 2 H2O

การใช้สัญลักษณ์ในสมการด้านบนนี้อาจทำให้เหมือนกับสมการนี้ไม่สมดุลที่อะตอมออกซิเจน ไฮโดรเจน และประจุ ที่ซึ่งในความเป็นจริงนั้นสมดุลอะตอมจะสมดุลโดยหมู่ฟอสเฟต (Pi) สองอัน:[6]

  • ที่ซึ่งอาจปรากฏในรูปของ hydrogen phosphate anion (HPO42−), dissociating to contribute 2 H+ overall
  • ที่ซึ่งปลดปล่อยออกซิเจนอะตอมเมื่อยึดเข้ากับโมเลกุล adenosine diphosphate (ADP) ส่งผลให้เกิด 2 O ในที่สุด

ส่วนสมดุลประจุนั้นสมดุลด้วยความแตกต่างระหว่าง ADP กับ ATP ในสภาแวดล้อมเซลล์ หมู่ไฮดรอกซิลทั้งสามของ ADP จะคลายพันธะออกเป็น −O and H+ ที่ซึ่งทำให้ ADP3− และไอออนของมันมีแนวโน้มจะคงอยู่ในพันธะไอออนิกกับ Mg2+ ซึ่งทำให้เกิด ADPMg ATP นั้นเหมือนกันแต่ต่างเพียงว่ามันมีหมู่ไฮดรอกซิลสี่หมู่ จึงทำให้เกิด ATPMg2− แทน จากความต่างนี้และประจุแท้จริงบนหมู่ฟอสเฟตสองหมู่นี้เท่ากัน ประจุสุทธิจะอยู่ที่ −4 ต่อฝั่ง ที่ซึ่งสมดุลกัน

อ้างอิง[แก้]

  1. Webster's New International Dictionary of the English Language, 2nd ed. (1937) Merriam Company, Springfield, Mass.
  2. Alfarouk, Khalid O.; Verduzco, Daniel; Rauch, Cyril; Muddathir, Abdel Khalig; Bashir, Adil H. H.; Elhassan, Gamal O.; Ibrahim, Muntaser E.; Orozco, Julian David Polo; Cardone, Rosa Angela; Reshkin, Stephan J.; Harguindey, Salvador (18 December 2014). "Glycolysis, tumor metabolism, cancer growth and dissemination. A new pH-based etiopathogenic perspective and therapeutic approach to an old cancer question". Oncoscience. 1: 777. doi:10.18632/oncoscience.109.
  3. 3.0 3.1 Glycolysis - Animation and Notes
  4. Bailey, Regina. "10 Steps of Glycolysis".
  5. Kim BH, Gadd GM. (2011) Bacterial Physiology and Metabolism, 3rd edition.
  6. Lane, A. N.; Fan, T. W. -M.; Higashi, R. M. (2009). "Metabolic acidosis and the importance of balanced equations". Metabolomics. 5 (2): 163–165. doi:10.1007/s11306-008-0142-2.