www.fgks.org   »   [go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีช้างเอราวัณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poom coffee (คุย | ส่วนร่วม)
Khxwklong (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 38 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 12 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox station
{{BTS infobox
| thaname = ช้างเอราวัณ
| name = ช้างเอราวัณ{{right|{{BTSSN|E|17|40|white=y}}}}
| engname = Chang Erawan
| native_name = Chang Erawan
| native_name_lang = en
| livery = 65B724
| style = BTS Skytrain
| namecolour = FFFFFF
| type = {{rint|bangkok|Sukhumvit}}
| line = รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท
| image = Platform 2 of Chang Erawan Station.jpg|The Platform 2 of Chang Erawan Station
| image = E17 Chang Erawan Station.jpg
| image_caption =
| caption = ชานชาลาที่ 2 สถานีช้างเอราวัณ
| district = [[อำเภอเมืองสมุทรปราการ|เมืองสมุทรปราการ]]
| address = [[ถนนสุขุมวิท]] [[อำเภอเมืองสมุทรปราการ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]
| coordinates =
| road = สุขุมวิท
| owned = [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]
| open = 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561
| operator = [[ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] (บีทีเอสซี)
| type = ยกระดับ
| line = {{rcb|BTS Skytrain|Sukhumvit}}
| platformtype = แบบด้านข้าง
| platform = 2 [[ชานชาลาด้านข้าง]]
| platformno = 2
| exitno = 6
| tracks = 2
| structure = ยกระดับ
| escalatorno = 4
| liftno = 4
| other =
| code = E17
| code = E17
| opened = {{Start date and age2|2561|12|06}}
| hours = 06.00 - 24.00น.
| former = พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ
| connections = รถโดยสารประจำทาง
| passengers = 820,701
|operator=บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
| pass_year = 2564
| owner = สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร
| services = {{Adjacent stations|system1=BTS Skytrain|line1=Sukhumvit|left1=ปู่เจ้า|right1=โรงเรียนนายเรือ}}
|mapstid=47
| mapframe = yes
| mapframe-zoom = 13
| mapframe-marker = rail-metro
}}
}}


'''สถานีช้างเอราวัณ''' ({{Lang-en|Chang Erawan Station, รหัส E17}}) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายแบริ่ง-สมุทรปราการ ระยะทาง 12.8 กิโลเมตร ยกระดับเหนือ[[ถนนสุขุมวิท]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] ระยะทาง 12.8 กิโลเมตร ตัวสถานีจะอยู่บริเวณสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1 ใกล้กับ[[พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ]] อันเป็นช่วงปลายของจุดสูงสุดของโครงการที่ความสูง 28 เมตร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561
'''สถานีช้างเอราวัณ''' ({{Lang-en|Chang Erawan station}}; รหัส: E17) เป็นสถานี[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]]แบบยกระดับในเส้นทาง[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|สายสุขุมวิท]]ส่วนต่อขยายแบริ่ง–สมุทรปราการ ยกระดับเหนือ[[ถนนสุขุมวิท]]ในพื้นที่[[อำเภอเมืองสมุทรปราการ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]<ref>{{Cite news|url=https://www.bangkokpost.com/news/transport/1583502/green-line-route-opens-dec-6|title=Green Line route opens Dec 6|newspaper=Bangkok Post|access-date=2018-12-14}}</ref> ตัวสถานีอยู่บริเวณสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1 ใกล้กับ[[พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ]] อันเป็นช่วงปลายของจุดสูงสุดของโครงการที่ความสูง 28 เมตร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561<ref>{{Cite web|url=https://bk.asia-city.com/city-living/news/bts-green-lines-nine-new-stations-to-samut-prakan-now-open-to-public|title=BTS Green Line's nine new stations to Samut Prakan now open to public|date=2018-12-07|website=bk.asia-city.com|language=en|access-date=2018-12-14}}</ref><ref>{{Cite web | url=https://coconuts.co/bangkok/news/bts-skytrain-extension-open-thursday-free-rides-new-stations-4-months/ | title=BTS skytrain extension to open Thursday, free rides through new stations for 4 months &#124; Coconuts }}</ref>


== ที่ตั้ง ==
== ที่ตั้ง ==
[[ถนนสุขุมวิท]] บริเวณซอยสุขุมวิท ซอย 7 (อุดมเดช) ด้านทิศใต้ของสามแยกจุดบรรจบ[[ถนนทางรถไฟสายเก่า]]และทางแยกต่างระดับสุขุมวิท [[ถนนกาญจนาภิเษก]] ในพื้นที่ตำบลปากน้ำ [[อำเภอเมืองสมุทรปราการ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]
[[ไฟล์:chang_erawan_view_from_bts.jpg||thumb|พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณในมุมมองจากรถไฟฟ้าบีทีเอส ช่วงที่ผ่านจุดสูงสุดของโครงการ]]
[[ถนนสุขุมวิท]] บริเวณซอยสุขุมวิท 7 (เทศบาลนครสมุทรปราการ) ด้านทิศใต้ของสามแยกจุดบรรจบ[[ถนนทางรถไฟสายเก่า]] และทางแยกต่างระดับสุขุมวิท [[ถนนกาญจนาภิเษก]] ในพื้นที่[[เทศบาลนครสมุทรปราการ]] (ตำบลปากน้ำ) [[อำเภอเมืองสมุทรปราการ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]


เดิมทีสถานีแห่งนี้ใช้ชื่อในแผนงานและในระหว่างการก่อสร้างว่า '''สถานีพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ''' ตามชื่อของพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณอันเป็นสัญลักษณ์เด่นของพื้นที่ตั้งสถานี ก่อนที่ [[สำนักงานราชบัณฑิตยสภา]] จะมีมติให้[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]]ดำเนินการแก้ไขชื่อสถานีในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้างเป็น '''สถานีเอราวัณ''' เพื่อให้ชื่อสถานีมีความเหมาะสม ซึ่งต่อมาบีทีเอสซีและกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการแก้ไขชื่อสถานีอีกครั้งเป็น '''สถานีช้างเอราวัณ''' ในปัจจุบัน
เดิมทีสถานีแห่งนี้ใช้ชื่อในแผนงานและในระหว่างการก่อสร้างว่า '''สถานีพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ''' ตามชื่อของพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณอันเป็นสัญลักษณ์เด่นของพื้นที่ตั้งสถานี ก่อนที่ [[สำนักงานราชบัณฑิตยสภา]] จะมีมติให้[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]]ดำเนินการแก้ไขชื่อสถานีในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้างเป็น '''สถานีเอราวัณ''' เพื่อให้ชื่อสถานีมีความเหมาะสม ซึ่งต่อมาบีทีเอสซีและกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการแก้ไขชื่อสถานีอีกครั้งเป็น '''สถานีช้างเอราวัณ''' ในปัจจุบัน


== แผนผังของสถานี ==
== แผนผังของสถานี ==
[[ไฟล์:BTS E17 Traditional station sign (MRTA Standard).svg|thumb|ป้ายสถานีรถไฟฟ้า BTS ช้างเอราวัณ]]
{|table border=0 cellspacing=0 cellpadding=3
{|table border=0 cellspacing=0 cellpadding=3
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" rowspan=5 valign=top|'''U3<br />ชานชาลา<br />'''
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" rowspan=5 valign=top|'''U3<br />ชานชาลา<br />'''
บรรทัด 39: บรรทัด 40:
| style = "border-top:solid 1px gray;border-right:solid 2px black;border-left:solid 2px black;border-bottom:solid 2px black;" colspan=2|<center><small>[[ชานชาลาด้านข้าง]], ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย</small></center>
| style = "border-top:solid 1px gray;border-right:solid 2px black;border-left:solid 2px black;border-bottom:solid 2px black;" colspan=2|<center><small>[[ชานชาลาด้านข้าง]], ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย</small></center>
|-
|-
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|ชานชาลา <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}}>'''1'''</font>
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|ชานชาลา <font color={{Rcr|BTS Skytrain|Sukhumvit}}>'''1'''</font>
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|{{BTS Lines|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}} มุ่งหน้า [[สถานีเคหะฯ]]
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|{{Rcb|BTS Skytrain|Sukhumvit|route}} มุ่งหน้า {{ltl|BTS Skytrain|Sukhumvit|R}} <small>({{stl|BTS Skytrain|โรงเรียนนายเรือ}})</small>
|-
|-
| ชานชาลา <font color = {{BTS color|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}}>'''2'''</font>
| ชานชาลา <font color = {{Rcr|BTS Skytrain|Sukhumvit}}>'''2'''</font>
| {{Rcb|BTS Skytrain|Sukhumvit|route}} มุ่งหน้า {{ltl|BTS Skytrain|Sukhumvit|L}} <small>({{stl|BTS Skytrain|ปู่เจ้า}})</small>
|{{BTS Lines|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}} มุ่งหน้า [[สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ]]
|-
|-
| style = "border-top:solid 2px black;border-right:solid 2px black;border-left:solid 2px black;border-bottom:solid 1px gray;" colspan=2|<center><small>[[ชานชาลาด้านข้าง]], ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย</small></center>
| style = "border-top:solid 2px black;border-right:solid 2px black;border-left:solid 2px black;border-bottom:solid 1px gray;" colspan=2|<center><small>[[ชานชาลาด้านข้าง]], ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย</small></center>
บรรทัด 57: บรรทัด 58:


== รูปแบบของสถานี ==
== รูปแบบของสถานี ==
เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง (side platform station) ขนาดมาตรฐาน ชั้นชานชาลากว้าง 17.75 เมตร ยาว 150 เมตร ชั้นจำหน่ายตั๋วกว้าง 19.55 เมตร ยาว 120 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา มีประตูกั้นชานชาลาแบบ Half Height Platform Screen Doors
เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน ชั้นชานชาลากว้าง 17.75 เมตร ยาว 150 เมตร ชั้นจำหน่ายตั๋วกว้าง 19.55 เมตร ยาว 120 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง


==ทางเข้า-ออก==
==ทางเข้า-ออก==
*'''1''' ซอยสุขุมวิท ซอย 7 (อุดมเดช), พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ, สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสมุทรปราการ จำกัด

*'''2''' สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรปราการ, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1
*'''1''' สุขุมวิท ซอย 7 (อุดมเดช),พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ,สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสมุทรปราการ จำกัด
*'''3''' ซอยสุขุมวิท ซอย 13 (โรงนมตรามะลิ), โรงงานนมตรามะลิ, โรงเรียนพร้านีลวัชระ (บันไดเลื่อน)

*'''4''' เดอะ ทรัสต์ คอนโด แอท บีทีเอส เอราวัณ, อู่สากลการาจ, เจริญ มอเตอร์แอร์ (บันไดเลื่อน)
*'''2''' สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรปราการ,สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ,สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1
*'''5''' ซอยสุขุมวิท ซอย 11 (ลิฟต์)
*'''3''' สุขุมวิท ซอย 13 (โรงนมตรามะลิ) ,โรงงานนมตรามะลิ,โรงเรียนพร้านีลวัชระ (บันไดเลื่อน)
*'''6''' ซอยสุขุมวิท ซอย 2 (ลิฟต์)
*'''4''' เดอะ ทรัสต์ คอนโด แอท บีทีเอส เอราวัณ,อู่สากลการาจ,เจริญ มอเตอร์แอร์ (บันไดเลื่อน)
*'''5''' สุขุมวิท ซอย 11 (ลิฟต์)
*'''6''' สุขุมวิท ซอย 2 (ลิฟต์)


จุดรวมพล อยู่ที่ ทางออก 2 บริเวณห้างหุ้นส่วนจำกัด เอส.บี. เรดิเอเตอร์ เซอร์วิส และ ทางออก 4 บริเวณเดอะ ทรัสต์ คอนโด แอท บีทีเอส เอราวัณ{{โครงส่วน}}
จุดรวมพล อยู่ที่ ทางออก 2 บริเวณห้างหุ้นส่วนจำกัด เอส.บี. เรดิเอเตอร์ เซอร์วิส และ ทางออก 4 บริเวณเดอะ ทรัสต์ คอนโด แอท บีทีเอส เอราวัณ{{โครงส่วน}}
บรรทัด 75: บรรทัด 74:


== เวลาให้บริการ ==
== เวลาให้บริการ ==
{| style="text-align:centre; font-size:95%; border:1px solid black"
{| style="text-align:center; font-size:95%; border:1px solid black"
|-
|-
! ปลายทาง !! colspan="1" | ขบวนแรก !! !! ขบวนสุดท้าย
! colspan="2" | ปลายทาง !! ขบวนแรก !! ขบวนสุดท้าย
|-
|-
! colspan="4" style="background-color:#{{Rcr|BTS Skytrain|Sukhumvit}};color:white; height:25px" | {{delink|{{line link|BTS Skytrain|Sukhumvit}}}}<ref>{{Cite web |url=https://www.bts.co.th/pdf/timetable_Green_1nov21.pdf |title=เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส |date=2021-11-01 |archive-date=2023-08-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230825081806/https://www.bts.co.th/pdf/timetable_Green_1nov21.pdf }}</ref>
! colspan="7" style="background-color:#76B729;color:white; height:25px" | สายสุขุมวิท
|-
|-
! colspan="4" style="background-color:#f5f5f5 | ชานชาลาที่ 1
| [[ไฟล์:BTS N17.svg|25px]] วัดพระศรีมหาธาตุ || style="text-align:center" | 05.27 || || style="text-align:center" | 23.56 / 00.12 (สำโรง)
|-
|-
| {{BTSSN|E|23}} || align=left | เคหะฯ || 05.19 || 00.35
| [[ไฟล์:BTS E23.svg|25px]] เคหะฯ || style="text-align:center" | 05.19 || || style="text-align:center" | 00.33
|-
! colspan="4" style="background-color:#f5f5f5 | ชานชาลาที่ 2
|-
| {{BTSSN|N|24}} || align=left | คูคต || 05.27 || 23.27
|- style="background:lightgrey; height: 1pt"
| colspan="4" |
|-
| {{BTSSN|N|9}} || align=left | ห้าแยกลาดพร้าว || – || 23.42
|- style="background:lightgrey; height: 1pt"
| colspan="4" |
|-
| {{BTSSN|E|15}} || align=left | สำโรง || – || 00.12
|}
|}


บรรทัด 91: บรรทัด 102:
== รถโดยสารประจำทาง ==
== รถโดยสารประจำทาง ==


'''องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ'''
* ถนนสุขุมวิท รถขสมก. สาย 2 25 102 142 508 511 536  รถเอกชน สาย 365 1141
<span style="color:red;">'''สีแดง'''</span> : เขตการเดินรถที่ 3<br>
<span style="color:Hotpink;">'''สีแดง'''</span> : เขตการเดินรถที่ 5<br>

'''รถเอกชน'''

<span
style="color:Navy;">'''สีกรมท่า'''</span> : เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครือ)

=== {{ป้ายทางหลวง|H|3}} ถนนสุขุมวิท ===
====องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ====
* {{rint|wheelchair|1}} เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

{| class="wikitable sortable mw-collapsible" style="text-align:centre; border:1px solid black"
|-
! สายที่
! จุดเริ่มต้น
! จุดสิ้นสุด
! ประเภทของรถที่ให้บริการ
!ผู้ให้บริการ
! หมายเหตุ
|-
| style="background-color: Hotpink;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 20 (เสริม) (1)
|{{Rint|ferry}} ท่านํ้าพระสมุทรเจดีย์
| ตลาดปากน้ำ
|1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
| rowspan="20"|[[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ|ขสมก.]]
|'''รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านครุใน ลงทางด่วนด่านปากน้ำ)'''
|-
|rowspan="2" style="background-color: red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 25 (3)
| {{Rint|bus}} อู่แพรกษาบ่อดิน
| [[ท่าช้าง]]
|1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
| รถทางล่าง ใช้ป้ายหน้ารถ'''{{สี|blue|สีนํ้าเงิน}}'''
รถบริการทางด่วน ใช้ป้ายหน้ารถ'''{{สี|gold|สีเหลือง}}''' <br>'''มีรถให้บริการตลอดคืน'''
|-
| โรงเรียนปทุมคงคาสมุทรปราการ
| ช้างสามเศียร
|1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
| เส้นทางเสริม ใช้ป้ายหน้ารถ'''สีขาว'''
|-
| style="background-color:red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 102 {{rint|wheelchair|1}} (2)
|อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ
|เซ็นทรัลพระราม 3
|1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
|'''รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านท่าเรือ)'''
|-
| style="background-color: red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 142 (3-17E) {{rint|wheelchair|1}} (2)
|rowspan="4"| {{Rint|bus}} อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ
| {{Rint|bus}} อู่แสมดำ
|1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
|
|-
| style="background-color: red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 508 (2)
|[[ท่าราชวรดิษฐ์]]
|รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
|รถทางล่าง ใช้ป้ายหน้ารถ'''{{สี|blue|สีนํ้าเงิน}}'''
รถบริการทางด่วน ใช้ป้ายหน้ารถ'''{{สี|gold|สีเหลือง}}'''
|-
| style="background-color: red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 511 (3-22E) {{rint|wheelchair|1}} (2)
|{{Rint|bus}} [[สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี)]]
|1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
| รถทางล่าง ใช้ป้ายหน้ารถ'''{{สี|blue|สีนํ้าเงิน}}'''
รถบริการทางด่วน ใช้ป้ายหน้ารถ'''{{สี|gold|สีเหลือง}}'''
|-
| style="background-color: red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 536 (2)
|{{Rint|bus}} สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
|1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
|-
|}

====รถเอกชน====
{| class="wikitable sortable mw-collapsible" style="text-align:centre; border:1px solid black"
|-
! สายที่
! จุดเริ่มต้น
! จุดสิ้นสุด
! ประเภทของรถที่ให้บริการ
!ผู้ให้บริการ
! หมายเหตุ
|-
| style="background-color:navy;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 2 (3-1) {{rint|wheelchair|1}}
|ปากน้ำ
|[[สะพานพระพุทธยอดฟ้า]]
| rowspan="7"|รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
| บจก.ไทยสมายล์บัส
|มีรถให้บริการตลอดคืน
|-
| style="background-color:navy;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 25 (3-6) {{rint|wheelchair|1}}
|โรงเรียนปทุมคงคาสมุทรปราการ
|{{rint|bus}} สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย)
| บจก.สาย 25 ร่วมใจ<br>(เครือไทยสมายล์บัส)
|'''ส่วนใหญ่หมดระยะแยกบางนา'''
|-
| style="background-color:navy;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 507 (3-13) {{rint|wheelchair|1}}
|rowspan="2"|{{rint|bus}} อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ)
|{{rint|bus}} สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้ใหม่)
| บจก.สมาร์ทบัส<br>(เครือไทยสมายล์บัส)
|
|-
| style="background-color:navy;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 513 (3-23E) {{rint|wheelchair|1}}
|{{rint|bus}} [[ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550|ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ]]
|rowspan="4"| บจก.ไทยสมายล์บัส
|
|-
| style="background-color:navy;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 552 (3-25E) {{rint|wheelchair|1}}
|ปากน้ำ
|[[นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง]]
|
|-
|-
| style="background-color:navy;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 3-32 {{rint|wheelchair|1}}
|{{rint|bus}} อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ)
|[[สวนสยาม]]
|
|-
{|

===รถหมวด 3===
{| class="wikitable sortable mw-collapsible" style="text-align:centre; border:1px solid black"
|-
! สายที่
! จุดเริ่มต้น
! จุดสิ้นสุด
! ประเภทของรถที่ให้บริการ
!ผู้ให้บริการ
! หมายเหตุ
|-
| style="background-color: black;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 365
|ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ
|{{rint|bus}} [[อ.บางปะกง|บางปะกง]]
| รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีเขียว
| บจก.สันติมิตรขนส่ง
|
|-
| style="background-color: black;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 365 (เสริม)
|สําโรง
|ตลาดบางโฉลง
| รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีเขียว
| บจก.สันติมิตรขนส่ง
|
|-
| style="background-color: black;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 1141
|ปากน้ำ
|มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 (วิทยาเขตบางนา)
| รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีเขียว
| บจก.เทียนทอง ขนส่ง
|
|-
|}

* ถนนสุขุมวิท รถขสมก. สาย 25 102 142 508 511 536  รถเอกชน สาย 365 1141


== สถานที่สำคัญใกล้เคียง ==
== สถานที่สำคัญใกล้เคียง ==
บรรทัด 106: บรรทัด 272:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


== สถานีใกล้เคียง ==
{{เริ่มทางรถไฟ}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}}|สี ={{BTS color|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}} | ก่อนหน้า=[[สถานีปู่เจ้า]]<br />''มุ่งหน้า [[สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ]]''| ถัดไป =[[สถานีโรงเรียนนายเรือ]]</br>''มุ่งหน้า [[สถานีเคหะฯ]]''}}
{{จบกล่อง}}
{{รถไฟฟ้า/สุขุมวิท}}
{{รถไฟฟ้า/สุขุมวิท}}


[[หมวดหมู่:สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส|ช้างเอราวัณ]]
[[หมวดหมู่:สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|ช้างเอราวัณ]]
[[หมวดหมู่:สถานีรถไฟฟ้าในอำเภอเมืองสมุทรปราการ|ช้างเอราวัณ]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2561]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2561]]
{{โครงคมนาคม}}
{{โครงคมนาคม}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:20, 14 กุมภาพันธ์ 2567

ช้างเอราวัณ
E17

Chang Erawan
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนสุขุมวิท อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีE17
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ6 ธันวาคม พ.ศ. 2561; 5 ปีก่อน (2561-12-06)
ชื่อเดิมพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ
ผู้โดยสาร
2564820,701
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
ปู่เจ้า
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท โรงเรียนนายเรือ
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่

สถานีช้างเอราวัณ (อังกฤษ: Chang Erawan station; รหัส: E17) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิทส่วนต่อขยายแบริ่ง–สมุทรปราการ ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิทในพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ[1] ตัวสถานีอยู่บริเวณสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1 ใกล้กับพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ อันเป็นช่วงปลายของจุดสูงสุดของโครงการที่ความสูง 28 เมตร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561[2][3]

ที่ตั้ง[แก้]

ถนนสุขุมวิท บริเวณซอยสุขุมวิท ซอย 7 (อุดมเดช) ด้านทิศใต้ของสามแยกจุดบรรจบถนนทางรถไฟสายเก่าและทางแยกต่างระดับสุขุมวิท ถนนกาญจนาภิเษก ในพื้นที่ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

เดิมทีสถานีแห่งนี้ใช้ชื่อในแผนงานและในระหว่างการก่อสร้างว่า สถานีพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ ตามชื่อของพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณอันเป็นสัญลักษณ์เด่นของพื้นที่ตั้งสถานี ก่อนที่ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา จะมีมติให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยดำเนินการแก้ไขชื่อสถานีในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้างเป็น สถานีเอราวัณ เพื่อให้ชื่อสถานีมีความเหมาะสม ซึ่งต่อมาบีทีเอสซีและกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการแก้ไขชื่อสถานีอีกครั้งเป็น สถานีช้างเอราวัณ ในปัจจุบัน

แผนผังของสถานี[แก้]

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (โรงเรียนนายเรือ)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (ปู่เจ้า)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก , ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ

รูปแบบของสถานี[แก้]

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน ชั้นชานชาลากว้าง 17.75 เมตร ยาว 150 เมตร ชั้นจำหน่ายตั๋วกว้าง 19.55 เมตร ยาว 120 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง

ทางเข้า-ออก[แก้]

  • 1 ซอยสุขุมวิท ซอย 7 (อุดมเดช), พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ, สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสมุทรปราการ จำกัด
  • 2 สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรปราการ, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1
  • 3 ซอยสุขุมวิท ซอย 13 (โรงนมตรามะลิ), โรงงานนมตรามะลิ, โรงเรียนพร้านีลวัชระ (บันไดเลื่อน)
  • 4 เดอะ ทรัสต์ คอนโด แอท บีทีเอส เอราวัณ, อู่สากลการาจ, เจริญ มอเตอร์แอร์ (บันไดเลื่อน)
  • 5 ซอยสุขุมวิท ซอย 11 (ลิฟต์)
  • 6 ซอยสุขุมวิท ซอย 2 (ลิฟต์)

จุดรวมพล อยู่ที่ ทางออก 2 บริเวณห้างหุ้นส่วนจำกัด เอส.บี. เรดิเอเตอร์ เซอร์วิส และ ทางออก 4 บริเวณเดอะ ทรัสต์ คอนโด แอท บีทีเอส เอราวัณ

สิ่งอำนวยความสะดวก[แก้]

  • ลิฟต์ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ

เวลาให้บริการ[แก้]

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[4]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.19 00.35
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.27 23.27
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 23.42
E15 สำโรง 00.12

สัญลักษณ์ของสถานี[แก้]

เดิมกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์เป็นรูปช้างสามเศียร สื่อถึงสถานที่สำคัญใกล้บริเวณสถานี คือพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ[5][6] แต่ปัจจุบันเน้นใช้สีเขียวอ่อน ตกแต่งรั้วและเสา บริเวณสถานี ชั้นชานชาลา ชั้นจำหน่ายตั๋ว ป้ายบอกทางและทางเข้าออกสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีด้านตะวันออก

รถโดยสารประจำทาง[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

สีแดง : เขตการเดินรถที่ 3
สีแดง : เขตการเดินรถที่ 5

รถเอกชน

สีกรมท่า : เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครือ)

ถนนสุขุมวิท[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
20 (เสริม) (1) เรือข้ามฟาก ท่านํ้าพระสมุทรเจดีย์ ตลาดปากน้ำ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านครุใน ลงทางด่วนด่านปากน้ำ)
25 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่แพรกษาบ่อดิน ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถทางล่าง ใช้ป้ายหน้ารถสีนํ้าเงิน

รถบริการทางด่วน ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง
มีรถให้บริการตลอดคืน

โรงเรียนปทุมคงคาสมุทรปราการ ช้างสามเศียร 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เส้นทางเสริม ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว
102 Handicapped/disabled access (2) อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ เซ็นทรัลพระราม 3 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านท่าเรือ)
142 (3-17E) Handicapped/disabled access (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง อู่แสมดำ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

508 (2) ท่าราชวรดิษฐ์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถทางล่าง ใช้ป้ายหน้ารถสีนํ้าเงิน

รถบริการทางด่วน ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง

511 (3-22E) Handicapped/disabled access (2) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถทางล่าง ใช้ป้ายหน้ารถสีนํ้าเงิน

รถบริการทางด่วน ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง

536 (2) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน[แก้]

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 (3-1) Handicapped/disabled access ปากน้ำ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส มีรถให้บริการตลอดคืน
25 (3-6) Handicapped/disabled access โรงเรียนปทุมคงคาสมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) บจก.สาย 25 ร่วมใจ
(เครือไทยสมายล์บัส)
ส่วนใหญ่หมดระยะแยกบางนา
507 (3-13) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้ใหม่) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
513 (3-23E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ บจก.ไทยสมายล์บัส
552 (3-25E) Handicapped/disabled access ปากน้ำ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
3-32 Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) สวนสยาม

รถหมวด 3[แก้]

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
365 ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง บางปะกง รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีเขียว บจก.สันติมิตรขนส่ง
365 (เสริม) สําโรง ตลาดบางโฉลง รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีเขียว บจก.สันติมิตรขนส่ง
1141 ปากน้ำ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 (วิทยาเขตบางนา) รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีเขียว บจก.เทียนทอง ขนส่ง
  • ถนนสุขุมวิท รถขสมก. สาย 25 102 142 508 511 536  รถเอกชน สาย 365 1141

สถานที่สำคัญใกล้เคียง[แก้]

  • พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วน
  • วัดบางด้วนใน
  • วัดไตรสามัคคี และโรงเรียนวัดไตรสามัคคี
  • สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรปราการ
  • สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ
  • สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1
  • โรงเรียนพร้านีลวัชระ

อ้างอิง[แก้]

  1. "Green Line route opens Dec 6". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 2018-12-14.
  2. "BTS Green Line's nine new stations to Samut Prakan now open to public". bk.asia-city.com (ภาษาอังกฤษ). 2018-12-07. สืบค้นเมื่อ 2018-12-14.
  3. "BTS skytrain extension to open Thursday, free rides through new stations for 4 months | Coconuts".
  4. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.
  5. เอกสารประกอบการสัมมนารับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และความต้องการของประชาชน ครั้งที่ 2 งานออกแบบรายละเอียดโครงการขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร ช่วงแบริ่ง-สมุทรปราการ โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) วันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2551 ณ โรงแรมแกรนด์ อินคำ จ.สมุทรปราการ
  6. สัญลักษณ์ประจำสถานี ของรถไฟฟ้าสายสีเขียวใต้ช่วงแบริ่ง - สมุทรปราการ , สืบค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2562