www.fgks.org   »   [go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิเลส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nikorn.t (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tapranksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
(ไม่แสดง 46 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 28 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
'''กิเลส''' ({{lang-pi|กิเลส}}; {{lang-sa|क्लेश}} ''เกฺลศ'') หมายถึง สภาพที่ทำให้[[จิต]]เศร้าหมอง<ref>พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), [http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=318 กิเลส 10], พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม</ref>
'''กิเลส''' แปลว่า ''สิ่งเกาะติด'' ''สิ่งเปรอะเปื้อน'' ''สิ่งสกปรก''


กิเลสมี 3 ระดับ คือได้แก่
'''กิเลส''' คือ สิ่งที่แฝงติดอยู่ในใจแล้วทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัว มีอุปมาเหมือนสีที่ใส่ลงไปในน้ำทำให้น้ำมีสีเหมือนสีที่ใส่ลงไป ใจก็เช่นกัน ปกติก็ใสสะอาด แต่กลายเป็นใจดำ ใจง่าย ใจร้ายก็เพราะมีกิเลสเข้าไปอิงอาศัยผสมปนเปอยู่
* [[อนุสัย]]กิเลส (Latent Defilements) กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน
* ปริยุฏฐานกิเลส (Internally Active Defilements) กิเลสอย่างกลางคือกิเลสที่เกิดขึ้นจากการปรุงแต่งทางความคิด ได้แก่ กิเลสประเภท[[นิวรณ์]] 5
* วีติกกมกิเลส (Externally Active Defilements) กิเลสอย่างหยาบคือกิเลสที่ทะลักออกมาทำให้สัตว์สร้างกรรมขึ้นมาทางกายและวาจา


กิเลสอย่างละเอียด สงบได้ด้วยปัญญา,กิเลสอย่างกลาง สงบได้ด้วยสมาธิ,กิเลสอย่างหยาบ สงบได้ด้วยศีล
กิเลสที่ชอบซุกหมักหมมอยู่ในใจคนมากที่สุด คือ [[ราคะ]] [[โลภะ]] [[โทสะ]] [[โมหะ]] เพราะกิเลสชอบซุกหมักหมมอยู่ในใจของคน จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''กิเลสาสวะ''' หรือ [[อาสวกิเลส]] แปลว่า กิเลสที่หมักดองอยู่ในจิต


== วจนัตถะ ==
==ประเภทของกิเลส==
'''กิเลเสนฺติ อุปตาเปนฺตีติ = กิเลสา''' แปลว่า ธรรมชาติใดย่อมทำให้เร่าร้อน เศร้าหมอง ธรรมชาตินั้นชื่อว่า '''กิเลส'''
#'''อโนตตัปปะ''' ความไม่รู้สึกตื่นกลัวต่อการทุจริต
#'''โทสะ''' ความโมโห โกรธ ความไม่พอใจ
#'''โมหะ''' ความหลงใหล ความโง่
#'''อุทธัจจะ''' ความฟุ้งซ่านไปต่างๆนานา
#'''ทิฏฐิ''' ความเห็นผิดเป็นชอบ
#'''วิจิกิจฉา''' ความเคลือบแคลงใจ สงสัย ไม่แน่ใจ ลังเลใจ ในสิ่งที่ควรเชื่อ
#'''โลภะ''' ความพอใจ ชอบพอ เต็มใจ ในโลกียอารมณ์ต่างๆ
#'''ถีนะ''' ความหดหู่ เงียบเหงา
#'''อหิริกะ''' ความไม่ละอายต่อการกระทำผิด ทุจริต
#'''มานะ''' ความ ทะนงตน ถือตัว เย่อหยิ่ง


'''กิลิสฺสติ เอเตหีติ = กิเลสา''' แปลว่า สัมปยุตธรรม คือ จิต [[เจตสิก]] ย่อมเศร้าหมอง เร่าร้อน ด้วยธรรมชาติใด ฉะนั้นธรรมชาติที่เป็นเหตุแห่งความเศร้าหมองเร่าร้อนของสัมปยุตนั้น จึงชื่อว่า '''กิเลส'''
==ดูเพิ่ม==
* [[อุปกิเลส]]


== กิเลสวัตถุ ==
==อ้างอิง==
ใน[[วิภังคปกรณ์]]ระบุว่า กิเลสวัตถุ 10 ได้แก่<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/read/?35/1026/528 ทสกนิเทศ], พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒ วิภังคปกรณ์</ref>
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''''' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
# [[โลภะ]] ความอยากได้ในสิ่งของ เงินทอง ทรัพย์สิน ที่ดินหรือลาภอื่นๆที่ไม่ใช่ของๆตน
# [[โทสะ]] ความคิดประทุษร้าย ทำลาย
# [[โมหะ]] ความหลง มัวเมา
# [[มานะ]] ความถือตัว
# [[ทิฏฐิ]] ความเห็นผิด
# [[วิจิกิจฉา]] ความลังเลสงสัย
# [[ถีนะ]] ความหดหู่
# [[อุทธัจจะ]] ความฟุ้งซ่าน
# [[อหิริกะ]] ความไม่ละอายบาป
# [[อโนตตัปปะ]] ความไม่เกรงกลัวบาป


== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด''
* [http://www.onlineworldtraveler.com/thailand/th/thai-buddha/Temple-Tours.html สถานที่ปฏิบัติธรรม]
* แนบ มหานีรานนท์ "อภิธรรมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๗ สมุจจยสังคหวิภาค"
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:กิเลส| ]]
[[หมวดหมู่:กิเลส| ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์พุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาพุทธ]]
{{โครงศาสนา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:40, 19 ธันวาคม 2566

กิเลส (บาลี: กิเลส; สันสกฤต: क्लेश เกฺลศ) หมายถึง สภาพที่ทำให้จิตเศร้าหมอง[1]

กิเลสมี 3 ระดับ คือได้แก่

  • อนุสัยกิเลส (Latent Defilements) กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน
  • ปริยุฏฐานกิเลส (Internally Active Defilements) กิเลสอย่างกลางคือกิเลสที่เกิดขึ้นจากการปรุงแต่งทางความคิด ได้แก่ กิเลสประเภทนิวรณ์ 5
  • วีติกกมกิเลส (Externally Active Defilements) กิเลสอย่างหยาบคือกิเลสที่ทะลักออกมาทำให้สัตว์สร้างกรรมขึ้นมาทางกายและวาจา

กิเลสอย่างละเอียด สงบได้ด้วยปัญญา,กิเลสอย่างกลาง สงบได้ด้วยสมาธิ,กิเลสอย่างหยาบ สงบได้ด้วยศีล

วจนัตถะ

กิเลเสนฺติ อุปตาเปนฺตีติ = กิเลสา แปลว่า ธรรมชาติใดย่อมทำให้เร่าร้อน เศร้าหมอง ธรรมชาตินั้นชื่อว่า กิเลส

กิลิสฺสติ เอเตหีติ = กิเลสา แปลว่า สัมปยุตธรรม คือ จิต เจตสิก ย่อมเศร้าหมอง เร่าร้อน ด้วยธรรมชาติใด ฉะนั้นธรรมชาติที่เป็นเหตุแห่งความเศร้าหมองเร่าร้อนของสัมปยุตนั้น จึงชื่อว่า กิเลส

กิเลสวัตถุ

ในวิภังคปกรณ์ระบุว่า กิเลสวัตถุ 10 ได้แก่[2]

  1. โลภะ ความอยากได้ในสิ่งของ เงินทอง ทรัพย์สิน ที่ดินหรือลาภอื่นๆที่ไม่ใช่ของๆตน
  2. โทสะ ความคิดประทุษร้าย ทำลาย
  3. โมหะ ความหลง มัวเมา
  4. มานะ ความถือตัว
  5. ทิฏฐิ ความเห็นผิด
  6. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
  7. ถีนะ ความหดหู่
  8. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน
  9. อหิริกะ ความไม่ละอายบาป
  10. อโนตตัปปะ ความไม่เกรงกลัวบาป

อ้างอิง

  1. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), กิเลส 10, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
  2. ทสกนิเทศ, พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒ วิภังคปกรณ์